1. นับจากนิยายเรื่อง Flicker ได้รับการตีพิมพ์ภาษาไทยในปี 2003 นี่น่าจะเป็นเพียงครั้งที่สองที่มันได้รับการเขียนถึงอย่างเต็มใจ ขอบคุณผู้เขียน ธีรพัฒน์ งาทอง ที่ทำให้ฝันของบรรณาธิการเป็นจริง หลังจากรอคนอ่านแบบนี้มานาน ยังจำความรู้สึกครั้งแรกสมัยที่อ่านมันตอนออกภาษาอังกฤษใหม่ ๆ และพยายามยัดเยียดให้หลายคนอ่าน (และพยายามจะพิมพ์มันตั้งแต่ก่อนออก "คุยกับหนัง" และ "ฟิล์มไวรัส เล่ม 1" / 2541) แต่อาจจะเป็นเพราะความหนาของมัน หรือตัวหนังสือมันอาจต้องการคนหมกมุ่นกับหนังมากพอสมควร หลายคนจึงอ่านไม่จบจนป่านนี้
2. Flicker ยังเหมาะเสมอที่จะอ่านในทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะในเวลานี้ที่ภาษาหนังเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน อย่าลืมว่ามันไม่ใช่แค่นิยาย แต่มันเป็นทั้งประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ (จริงและลวง) เป็นทั้งทฤษฎีหนัง และคำทำนายที่ตลกและล้ำกว่านิยาย The Da Vinci Code ที่ออกตามาทีหลังเสียอีก
3. ที่จริงเคยเขียนเชิงอรรถของ Flicker ไว้ด้วย แต่ถ้ารวมไว้ด้วยในเล่มมันจะหนากว่านี้เยอะ และคงไม่มีวันได้พิมพ์
4. ภาพประกอบข้างล่างอาจไม่ตรงกับบทความโดยตรง แต่เลือกให้ใกล้เคียงกับบรรยากาศหนังในนิยาย
(โปรดสังเกตภาพกางเขนมอลตีสที่มีความสำคัญมากในเรื่อง)
5. เคยบอกหรือยังว่า Flicker เป็นหนังสือที่ตอบที่มาของคำว่า "Filmvirus" ได้ดีที่สุด
6. อย่าลืมอ่านเรื่องสั้น The Devil's Plaything ซึ่งเป็นส่วนเสริมของนิยายเรื่อง Flicker ใน Filmvirus 04 สางสำแดง
FLICKER (Theodore Roszak , 1991)
รีวิวนิยายของ Theodore Roszak
โดย ธีรพัฒน์ งาทอง
ผมพบกับFlicker ครั้งแรกในร้านเบอร์เกอร์คิง สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ พี่สาวของผมซิ้อมาให้จากร้าน Kinokuniya หลังจากเราไปดูหนังขาวดำอินเดียมาด้วยกัน น่าเสียดายที่บรรยากาศของร้านอา
ผมดองFlicker ทิ้งไว้ในชั้นหนังสือนานพอสมควร
เรื่องราวว่าด้วยนายโจนาธาน เกตส์ นักศึกษาภาพยนตร์ ของUCLA ที่หลงใหลในศิลปะภาพยนตร์ และมีโรงหนังขาประจำเป็นโรงหนัง
จนวันหนึ่ง ด้วยความบังเอิญอย่างถึงที่สุด โจนาธานมีโอกาสได้ดูหนังลับแล ของ Max Castle นักทำหนังผู้อาภัพชาวเยอรมัน ที่เริ่มทำหนังตั้งแต่ยุคสมัย German Expressionist จนย้ายมาอยู่อเมริกา และทำหนังเกรดบีทุนต่ำมากมาย อันล้วนแล้วแต่ถูกผู้คนมองข้ามไ
ในขณะที่แคลร์ตีตัวออกห่างจากหน
เมื่อผมอ่านถึงส่วนที่เป็นเรื่อ
มีองค์กรยิ่งใหญ่ที่อยู่เบื้องห
เช่นเดียวกับที่ รอสแซค พูดเล่าย้อนถึง อัศวินเทมพลาร์กับภาพยนตร์ แต่เขายังย้อนกลับไปยิ่งกว่า ไปจนถึงสมัยพระเยซู หรือก่อนหน้านั้น (ชาวบาบิโลเนียน)
เพื่อนของผมเล่าว่า Freemason มีอิทธิพลอยู่หลังวงการการเมือง
1.ภาพของโนงูจิ ฮิเดโยะ บนธนบัตร
http://3.bp.blogspot.com/
เขาปิดให้ดูว่าใบหน้าของโนงูจิน
2.นัยที่ซุกซ่อนบนธนบัตร
http://3.bp.blogspot.com/
ถ้าเราเอาแบ๊งค์ 1000 เยน ไปส่องกับแสงแดด (ตามรูป http://aniota.s54.xrea.com/
เราจะพบว่า ดวงตาข้างซ้ายของโนงูจิจะทาบทับ
จากคนที่เคยขำกับเรื่องเล่าของเ
แต่ดูเหมือนเรื่องราวใน Flicker จะไปได้ใกลกว่านั้น เมื่อเรื่องอุปโลกน์ เรื่องราวความจริง ต่างผสมปนเปกันไปหมด บางตัวละครในเรื่องมีตัวตนจริง บางตัวที่คิดว่าน่าจะมีจริงกลับ
อีกมากมายหลากหลายเรื่องราวที่ส
อีกทั้ง นิยายที่ดูจะดำดิ่งเตร่งเครียดเ
มีหลายตอนในหนังสือเล่มนี้ที่ผม
รวมทั้งตอนฉายเวเนเชียน มาเจนตา ผมดูไม่ออกว่า รอสแซค รังเกียจหรือชอบหนังทดลองกันแน่
แคลร์ ก็เป็นตัวละครอีกคน ที่มีความคิดแบบหัวกบฎ เธอจะไม่ชอบงานสำคัญๆที่นักวิจา
อีกอันนึงที่ฮามากๆ คือกลุ่มลัทธิ ประสาทสัญวิทยาของฝรั่งเศส นำโดย วิคตอร์ แซงต์ ซีร์ นอกจากแนวคิดของพวกนี้จะเหมือนพ
ในทางหนึ่ง มันก็เป็นดั่งการวิพากษ์หน้าที่
อีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจ คือแนวคิดของลัทธิพวกคาธาร์ในFl
ตอนหลังของเรื่องเหมือนจะเป็นอี
ในตอนสุดท้าย ที่โจนาธานถูกนำไปปล่อยทิ้งไว้ท
เรื่องน่าสนใจอีกเรื่องนึงใน Flicker คือ วันคริสมาสต์ ปี 2014 จะเป็นวันที่พวกคาธาร์ทำการระเบ
หลังจากอ่านจบ ผมไม่อยากจะอ่านหนังสือปรัชญาขอ
มีฉากหนึ่งที่บ่งบอกช่วงเวลาของ
No comments:
Post a Comment